ยินดีต้อนรับเข้าสู่เว็บบล็อกรายวิชา นวัตกรรม เทคโนโลยีและสารสนเทศทางการศึกษา (Information and Communication Technology for Teachers) ของ น.ส.จันสุดา พลเยี่ยม เอก ปฐมวัย หมู่ 1

วันจันทร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2555

คุณธรรมจริยธรรม


1. ความซื่อสัตย์
 ซื่อสัตย์ คือ ประพฤติตรงไม่เอนเอียงไม่มีเล่ห์เหลี่ยมมีความจริงใจ ปลอดจากความรู้สึกลำเอียงหรืออคติ
 ผู้ที่มีความซื่อสัตย์ คือ ผู้ที่มีความประพฤติตรงทั้งต่อหน้าที่ ต่อวิชาชีพ ตรงต่อเวลา ไม่ใช้เล่ห์กล คดโกงทั้งทางตรงและทางอ้อม รับรู้หน้าที่ของตนเองและปฏิบัติอย่างเต็มที่ถูกต้อง
ความหมายตามรากศัพท์ ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2530 หน้า  691  ให้ความหมายของความรับผิดชอบ  หมายถึง  อาการ ยอดตามผลที่ดีหรือไม่ดีในกิจการที่ได้กระทำไป
เพิ่มศักดิ์  วรรลยางกูร และวรัญ  ผาติธรรมรักษ์ (2540)  อธิบายความหมายของความรับผิดชอบ 
หมายถึง  การปฏิบัติหน้าที่ของตนตามภาวะที่เป็นอยู่และตรงเวลาด้วยความสุจริต  ความเต็มใจ  และความจริงใจ
2.ความรับผิดชอบ 
หมายถึง  ลักษณะของบุคคลที่แสดงออกถึงความเอาใจใส่จดจ่อ  ตั้งใจ  มุ่งมั่นต่อหน้าที่การงาน  การศึกษาเล่าเรียน และการเป็นอยู่ของตนเอง และ  ผู้อยู่ในความดูแลตลอดจนสังคมอย่างเต็มความสามารถด้วยความผูกพัน  เพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตาม                   ความมุ่งหมายในเวลาที่กำหนด ยอมรับผลการกระทำทั้งผลดีและผลเสียที่เกิดขึ้นรวมทั้งปรับปรุงการปฏิบัติให้ดีขึ้นด้วย 
www.chiangmaiarea1.net/nitesonline/Manual3.doc
ความรับผิดชอบ หรือ RESPONSIBILITY ดร. ริช แปลว่า
การกระทำสิ่งที่ถูกที่ถูก พิจารณาดูจากกิจกรรมที่ ดร.ริช เขียนให้พ่อแม่เด็กก็คงหมายถึง การกระทำที่ถูกเวลา (หมายถึง กาลเทศะ) ทันเวลา ตรงต่อเวลาด้วย เป็นกิจกรรมฝึกให้รับผิดชอบต่อตัวเอง ต่อครอบครัว และต่อสังคมในที่สุด เท่ากับสร้างเสริมวินัย ค่านิยมให้เกิดขึ้นในตัวเด็กอย่างหนึ่ง เด็กควรได้รับการฝึกให้รู้ว่า อะไรควรทำไม่ควรทำ อะไรทำให้บังเกิดความเชื่อถือ ความไว้เนื้อเชื่อใจกัน

คำอธิบายรายวิชา


ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี นวัตกรรม เทคโนโลยีและสารสนเทศทางการศึกษา ที่ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้  การวิเคราะห์ ปัญหาที่เกิดจากการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี และสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ การสร้าง การออกแบบ การนำไปใช้ การประเมินผล การปรับปรุงนวัตกรรมสามารถเลือกใช้ ออกแบบสร้าง ปรับปรุงนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาที่จะรับผิดชอบสอนในอนาคตได้อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับระดับการศึกษา ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ดี สามารถแสว


วัตถุประสงค์
1.               เพื่อให้มีความเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์ควบคุมการเปิด-ปิดวงจรอุปกรณ์ทรานสดิ้วเซอร์และการประยุกต์ใช้งาน2
2.               เพื่อให้มีความสามารถในการวัดทดสอบ  อุปกรณ์ควบคุมเปิด-ปิดวงจรอุปกรณ์ทรานสดิ้วเซอร์และการประยุกต์ใช้งาน3.
3.                 เพื่อให้มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย  มีลำดับ  ขั้นตอนในการทำงานอย่างถูกต้องและปลอดภัย 

รูปแบบการเรียนการสอน
(๑) รูปแบบการสอน หมายถึง แบบหรือแผนของการสอน รูปแบบการสอนแบบหนึ่งจะมีจุดเน้นที่เฉพาะเจาะจงอย่างใดอย่างหนึ่ง รูปแบบการสอนแต่ละรูปแบบจึงอาจมีจุดหมายที่แตกต่างกัน 
(๒) รูปแบบการสอน หมายถึง แผนหรือแบบซึ่งสามารถใช้การสอนในห้องเรียน หรือสอนพิเศษเป็นกลุ่มย่อย หรือ เพื่อจัดสื่อการสอน ซึ่งรวมถึง หนังสือ ภาพยนตร์ เทปบันทึกเสียง โปรแกรมคอมพิวเตอร์และหลักสูตรรายวิชา รูปแบบ 
การสอนแต่ละรูปแบบจะเป็นแนวในการออกแบบการสอนที่ช่วยให้นักเรียนบรรลุ 
วัตถุประสงค์ตามที่รูปแบบนั้น ๆ กำหนด 
(๓) รูปแบบการสอน หมายถึง แผนแสดงการเรียนการสอน สำหรับนำไปใช้สอนในห้องเรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้ให้มากที่สุด แผนดังกล่าวจะแสดงถึงลำดับความสอดคล้องกัน ภายใต้หลักการของแนวคิดพื้นฐานเดียวกัน องค์ประกอบทั้งหลายได้แก่ หลักการ จุดมุ่งหมาย เนื้อหา และทักษะที่ต้องการสอน ยุทธศาสตร์การสอน วิธีการสอน กระบวนการสอน ขั้นตอนและกิจกรรมการสอน และการวัดและประเมินผล 

คำว่ารูปแบบการเรียนการสอน หรือรูปแบบการจัดการเรียนการสอน มีผู้อธิบายไว้ดังนี้ 
(๑) รูปแบบการเรียนการสอน หมายถึง โครงสร้างที่แสดงความสัมพันธ์และส่งเสริมซึ่งกันและกันระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ในการเรียนการสอน ได้แก่ หลักการ วัตถุประสงค์ เนื้อหา ขั้นตอนการสอน การประเมินผล รวมทั้งกิจกรรมสนับสนุนอื่น ๆ โดยผ่านขั้นตอนตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 
(๒) รูปแบบการเรียนการสอน เป็นโครงสร้างที่ใช้เป็นแนวในการสร้างกิจกรรมการเรียนการสอน และจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียน 
การสอน 
จากการศึกษาเอกสารต่าง ๆ พบว่านักการศึกษาไทยส่วนใหญ่ใช้คำว่า รูปแบบการสอน มากกว่ารูปแบบการเรียนการสอนและรูปแบบการจัดการเรียน 
การสอน 
 เนื้อหาบทเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวัตกรรม เทคโนโลยี และสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่   หลักการ แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวนวัตกรรม เทคโนโลยีและสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่  การสื่อสารเพื่อการเรียนการสอน
หน่วยการเรียนรู้ที่  4  จิตวิทยาการเรียนการสอน
หน่วยการเรียนรู้ที่  5   การออกแบบการเรียนการสอน
หน่วยการเรียนรู้ที่   6  นวัตกรรมการเรียนการสอน
หน่วยการเรียนรู้ที่  คอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่   เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่  การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียนการสอน
หน่วยการเรียนรู้ที่  10  แนวโน้มในอนาคตเกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทสการศึกษาหรือการเรียนการสอน


วันพฤหัสบดีที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2555


   


ประวัติส่วนตัว
ชื่อ จันสุดา     สามสกุล  พลเยี่ยม   รหัส 544186123               
ชื่อเล่น   เปิ้ล  เกิดวันที่ 11 พฤษภาคม   พ.2535   ภูมิลำเนา  บ้านเลขที่  155
หมู่ 7  ตำบล เซิม    อำเภอโพนพิสัย   จังหวัดหนองคาย   43120
E-mail   apple-25351@hotmail.com
อาหารที่ชอบ  ส้มตำ
สีที่ชอบ = สีฟ้า , สีชมพู
สัตย์เลียงที่ชอบ = สุนัข
ทัศนคติ  = อย่านอนตื่นสาย อย่าอายทำกิน     อย่าหมิ่นเงินน้อย อย่าคอยวาสนา
อย่าเสาวนาคนชั่ว อย่ามั่วอบายมุข     อย่าสุกก่อนห่าม อย่าพล่ามก่อนทำ
อย่ารำก่อนเพลง อย่าข่มเหงผู้น้อย     อย่าคอยแต่ประจบ อย่าคบแต่เศรษฐี
สาขาวิชา ปฐมวัย   หมู่ 1  วิชาเรียนนวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา  ภาคเรียนที่  1  2555
อาจารย์ผู้สอน อ. ประภาช   วิวรรธมงคล