ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี นวัตกรรม เทคโนโลยีและสารสนเทศทางการศึกษา ที่ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้ การวิเคราะห์ ปัญหาที่เกิดจากการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี และสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ การสร้าง การออกแบบ การนำไปใช้
การประเมินผล การปรับปรุงนวัตกรรมสามารถเลือกใช้ ออกแบบสร้าง ปรับปรุงนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาที่จะรับผิดชอบสอนในอนาคตได้อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับระดับการศึกษา ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ดี สามารถแสว
รูปแบบการเรียนการสอน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการ แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวนวัตกรรม เทคโนโลยีและสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การสื่อสารเพื่อการเรียนการสอน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 จิตวิทยาการเรียนการสอน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การออกแบบการเรียนการสอน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 นวัตกรรมการเรียนการสอน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 คอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียนการสอน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 แนวโน้มในอนาคตเกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทสการศึกษาหรือการเรียนการสอน
วัตถุประสงค์
1.
เพื่อให้มีความเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์ควบคุมการเปิด-ปิดวงจรอุปกรณ์ทรานสดิ้วเซอร์และการประยุกต์ใช้งาน2
2.
. เพื่อให้มีความสามารถในการวัดทดสอบ
อุปกรณ์ควบคุมเปิด-ปิดวงจรอุปกรณ์ทรานสดิ้วเซอร์และการประยุกต์ใช้งาน3.
3.
เพื่อให้มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย
มีลำดับ ขั้นตอนในการทำงานอย่างถูกต้องและปลอดภัย
(๑) รูปแบบการสอน
หมายถึง แบบหรือแผนของการสอน
รูปแบบการสอนแบบหนึ่งจะมีจุดเน้นที่เฉพาะเจาะจงอย่างใดอย่างหนึ่ง รูปแบบการสอนแต่ละรูปแบบจึงอาจมีจุดหมายที่แตกต่างกัน
(๒) รูปแบบการสอน หมายถึง แผนหรือแบบซึ่งสามารถใช้การสอนในห้องเรียน หรือสอนพิเศษเป็นกลุ่มย่อย หรือ เพื่อจัดสื่อการสอน ซึ่งรวมถึง หนังสือ ภาพยนตร์ เทปบันทึกเสียง โปรแกรมคอมพิวเตอร์และหลักสูตรรายวิชา รูปแบบ
การสอนแต่ละรูปแบบจะเป็นแนวในการออกแบบการสอนที่ช่วยให้นักเรียนบรรลุ
วัตถุประสงค์ตามที่รูปแบบนั้น ๆ กำหนด
(๓) รูปแบบการสอน หมายถึง แผนแสดงการเรียนการสอน สำหรับนำไปใช้สอนในห้องเรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้ให้มากที่สุด แผนดังกล่าวจะแสดงถึงลำดับความสอดคล้องกัน ภายใต้หลักการของแนวคิดพื้นฐานเดียวกัน องค์ประกอบทั้งหลายได้แก่ หลักการ จุดมุ่งหมาย เนื้อหา และทักษะที่ต้องการสอน ยุทธศาสตร์การสอน วิธีการสอน กระบวนการสอน ขั้นตอนและกิจกรรมการสอน และการวัดและประเมินผล
คำว่ารูปแบบการเรียนการสอน หรือรูปแบบการจัดการเรียนการสอน มีผู้อธิบายไว้ดังนี้
(๑) รูปแบบการเรียนการสอน หมายถึง โครงสร้างที่แสดงความสัมพันธ์และส่งเสริมซึ่งกันและกันระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ในการเรียนการสอน ได้แก่ หลักการ วัตถุประสงค์ เนื้อหา ขั้นตอนการสอน การประเมินผล รวมทั้งกิจกรรมสนับสนุนอื่น ๆ โดยผ่านขั้นตอนตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
(๒) รูปแบบการเรียนการสอน เป็นโครงสร้างที่ใช้เป็นแนวในการสร้างกิจกรรมการเรียนการสอน และจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียน
การสอน
จากการศึกษาเอกสารต่าง ๆ พบว่านักการศึกษาไทยส่วนใหญ่ใช้คำว่า รูปแบบการสอน มากกว่ารูปแบบการเรียนการสอนและรูปแบบการจัดการเรียน
การสอน
(๒) รูปแบบการสอน หมายถึง แผนหรือแบบซึ่งสามารถใช้การสอนในห้องเรียน หรือสอนพิเศษเป็นกลุ่มย่อย หรือ เพื่อจัดสื่อการสอน ซึ่งรวมถึง หนังสือ ภาพยนตร์ เทปบันทึกเสียง โปรแกรมคอมพิวเตอร์และหลักสูตรรายวิชา รูปแบบ
การสอนแต่ละรูปแบบจะเป็นแนวในการออกแบบการสอนที่ช่วยให้นักเรียนบรรลุ
วัตถุประสงค์ตามที่รูปแบบนั้น ๆ กำหนด
(๓) รูปแบบการสอน หมายถึง แผนแสดงการเรียนการสอน สำหรับนำไปใช้สอนในห้องเรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้ให้มากที่สุด แผนดังกล่าวจะแสดงถึงลำดับความสอดคล้องกัน ภายใต้หลักการของแนวคิดพื้นฐานเดียวกัน องค์ประกอบทั้งหลายได้แก่ หลักการ จุดมุ่งหมาย เนื้อหา และทักษะที่ต้องการสอน ยุทธศาสตร์การสอน วิธีการสอน กระบวนการสอน ขั้นตอนและกิจกรรมการสอน และการวัดและประเมินผล
คำว่ารูปแบบการเรียนการสอน หรือรูปแบบการจัดการเรียนการสอน มีผู้อธิบายไว้ดังนี้
(๑) รูปแบบการเรียนการสอน หมายถึง โครงสร้างที่แสดงความสัมพันธ์และส่งเสริมซึ่งกันและกันระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ในการเรียนการสอน ได้แก่ หลักการ วัตถุประสงค์ เนื้อหา ขั้นตอนการสอน การประเมินผล รวมทั้งกิจกรรมสนับสนุนอื่น ๆ โดยผ่านขั้นตอนตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
(๒) รูปแบบการเรียนการสอน เป็นโครงสร้างที่ใช้เป็นแนวในการสร้างกิจกรรมการเรียนการสอน และจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียน
การสอน
จากการศึกษาเอกสารต่าง ๆ พบว่านักการศึกษาไทยส่วนใหญ่ใช้คำว่า รูปแบบการสอน มากกว่ารูปแบบการเรียนการสอนและรูปแบบการจัดการเรียน
การสอน
เนื้อหาบทเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวัตกรรม
เทคโนโลยี และสารสนเทศหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการ แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวนวัตกรรม เทคโนโลยีและสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การสื่อสารเพื่อการเรียนการสอน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 จิตวิทยาการเรียนการสอน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การออกแบบการเรียนการสอน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 นวัตกรรมการเรียนการสอน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 คอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียนการสอน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 แนวโน้มในอนาคตเกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทสการศึกษาหรือการเรียนการสอน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น