1. ความซื่อสัตย์
ซื่อสัตย์ คือ ประพฤติตรงไม่เอนเอียงไม่มีเล่ห์เหลี่ยมมีความจริงใจ
ปลอดจากความรู้สึกลำเอียงหรืออคติ
ผู้ที่มีความซื่อสัตย์ คือ ผู้ที่มีความประพฤติตรงทั้งต่อหน้าที่ ต่อวิชาชีพ ตรงต่อเวลา
ไม่ใช้เล่ห์กล คดโกงทั้งทางตรงและทางอ้อม รับรู้หน้าที่ของตนเองและปฏิบัติอย่างเต็มที่ถูกต้อง
ความหมายตามรากศัพท์ ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2530 หน้า
691 ให้ความหมายของความรับผิดชอบ หมายถึง
อาการ ยอดตามผลที่ดีหรือไม่ดีในกิจการที่ได้กระทำไป
เพิ่มศักดิ์
วรรลยางกูร และวรัญ ผาติธรรมรักษ์ (2540)
อธิบายความหมายของความรับผิดชอบ
หมายถึง การปฏิบัติหน้าที่ของตนตามภาวะที่เป็นอยู่และตรงเวลาด้วยความสุจริต ความเต็มใจ และความจริงใจ
หมายถึง การปฏิบัติหน้าที่ของตนตามภาวะที่เป็นอยู่และตรงเวลาด้วยความสุจริต ความเต็มใจ และความจริงใจ
2.ความรับผิดชอบ
หมายถึง ลักษณะของบุคคลที่แสดงออกถึงความเอาใจใส่จดจ่อ
ตั้งใจ มุ่งมั่นต่อหน้าที่การงาน
การศึกษาเล่าเรียน และการเป็นอยู่ของตนเอง และ ผู้อยู่ในความดูแลตลอดจนสังคมอย่างเต็มความสามารถด้วยความผูกพัน
เพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตาม
ความมุ่งหมายในเวลาที่กำหนด ยอมรับผลการกระทำทั้งผลดีและผลเสียที่เกิดขึ้นรวมทั้งปรับปรุงการปฏิบัติให้ดีขึ้นด้วย
www.chiangmaiarea1.net/nitesonline/Manual3.doc
www.chiangmaiarea1.net/nitesonline/Manual3.doc
ความรับผิดชอบ หรือ RESPONSIBILITY
ดร. ริช แปลว่า
การกระทำสิ่งที่ถูกที่ถูก พิจารณาดูจากกิจกรรมที่ ดร.ริช เขียนให้พ่อแม่เด็กก็คงหมายถึง การกระทำที่ถูกเวลา (หมายถึง กาลเทศะ) ทันเวลา ตรงต่อเวลาด้วย เป็นกิจกรรมฝึกให้รับผิดชอบต่อตัวเอง ต่อครอบครัว และต่อสังคมในที่สุด เท่ากับสร้างเสริมวินัย ค่านิยมให้เกิดขึ้นในตัวเด็กอย่างหนึ่ง เด็กควรได้รับการฝึกให้รู้ว่า อะไรควรทำไม่ควรทำ อะไรทำให้บังเกิดความเชื่อถือ ความไว้เนื้อเชื่อใจกัน
การกระทำสิ่งที่ถูกที่ถูก พิจารณาดูจากกิจกรรมที่ ดร.ริช เขียนให้พ่อแม่เด็กก็คงหมายถึง การกระทำที่ถูกเวลา (หมายถึง กาลเทศะ) ทันเวลา ตรงต่อเวลาด้วย เป็นกิจกรรมฝึกให้รับผิดชอบต่อตัวเอง ต่อครอบครัว และต่อสังคมในที่สุด เท่ากับสร้างเสริมวินัย ค่านิยมให้เกิดขึ้นในตัวเด็กอย่างหนึ่ง เด็กควรได้รับการฝึกให้รู้ว่า อะไรควรทำไม่ควรทำ อะไรทำให้บังเกิดความเชื่อถือ ความไว้เนื้อเชื่อใจกัน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น